BabyToddlersKids
BabyToddlersKids
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
  • ตั้งครรภ์
    • ดูทั้งหมด
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1 (First Trimester)
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 1
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 2
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 3
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 4
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 5
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 6
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 7
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 8
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 9
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 10
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 11
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 12
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 13
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 (Second Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 14
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 15
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 16
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 17
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 18
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 19
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 20
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 21
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 22
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 23
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 24
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 25
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 26
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 27
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3 (Third Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 28
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 29
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 30
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 31
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 32
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 33
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 34
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 35
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 36
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 37
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 38
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 39
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 40
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 41
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 42
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 43
  • เด็กวัยแรกเกิด
    • ดูทั้งหมด
    • Parenting The Parent
    • พัฒนาการลูกน้อย (Baby's Developement)
      • พัฒนาการเด็กแรกเกิด ถึง 7 สัปดาห์ (Baby's Development Newborn to week 7)
        • เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)
        • เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 4 สัปดาห์ (4 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 5 สัปดาห์ (5 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 6 สัปดาห์ (6 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 7 สัปดาห์ (7 Weeks Old Baby)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Baby's Development - Month by Month)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 2 เดือน (First Year - 2 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 3 เดือน (First Year - 3 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 4 เดือน (First Year - 4 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 5 เดือน (First Year - 5 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 6 เดือน (First Year - 6 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 7 เดือน (First Year - 7 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 8 เดือน (First Year - 8 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 9 เดือน (First Year - 9 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 10 เดือน (First Year - 10 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 11 เดือน (First Year - 11 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 12 เดือน (First Year - 12 Months Old)
    • การให้อาหารทารก (Feeding)
      • Alternative methods of infant feeding
        • Alternative methods of infant feeding
      • การให้นมจากขวด (Bottle Feeding)
        • นมผงสำหรับทารก (Formula Feeding)
      • การให้นมแม่ (Breast Feeding)
        • การให้นมแม่
      • อาหารบด (Solids)
        • อาหารเสริมสำหรับทารก (Solid Foods)
    • วัคซีน (Vaccinations)
      • วัคซีน (Vaccine Basic)
        • การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในเด็กปลอดภัยหรือไม่? Are Immunizations safe?
        • การฉีดวัคซีนในเด็ก (The Importance of Vaccines)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็กทารก (Baby Sleep)
        • การกล่อมลูกน้อยให้นอนหลับ (Getting Baby to Sleep)
        • การนอนของเด็กแรกเกิด (Baby Bedtime Routine)
        • การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)
        • ฝึกเด็กวัยแรกเกิดให้นอนเองและนอนได้นาน (Baby Sleep Training Strategies)
  • เด็กวัยหัดเดิน
    • ดูทั้งหมด
    • พัฒนาการเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Development)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Toddler Development - Month by Month)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็ก (Sleep)
    • การเล่น (Playtime)
    • อุปกรณ์ของใช้สำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Gears)
      • จานและชามสำหรับทานอาหารของเด็กวัยหัดเดิน (Plates and Bowls for Toddler)
      • รั้วกั้นสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Safety Gates)
      • อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของเด็กวัยหัดเดิน (Toddler safety products)
      • เก้าอี้และโต๊ะทานข้าวสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (High Chair and Table for Toddler)
      • เตียงนอนสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Bed)
  • เด็กก่อนวัยเรียน
    • ดูทั้งหมด
    • Covid-19
      • การเตรียมตัวเปิดเทอมในช่วงโควิด-19
      • หากสงสัยว่าลูกน้อยได้รับเชื้อไวรัส COVID 19
    • เด็กวัย 3 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • เด็กวัย 4 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
      • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
  • อุปกรณ์และของใช้เด็ก
    • ดูทั้งหมด
    • รถเข็น / คาร์ซีท / เป้อุ้ม และอุปกรณ์
      • คาร์ซีท (Carseat)
      • รถเข็น (Stroller)
      • อุปกรณ์อุ้มเด็ก (Baby Carrier)
    • อุปกรณ์การให้นม
      • ขวดนม (Milk Bottle)
      • จุกนม (Nipples)
      • หมอนรองให้นม (Nursing Pillow)
      • แปรงทำความสะอาดขวดนม (Bottle Brush)
    • เตียงนอนและอุปกรณ์ในห้องเลี้ยงเด็ก
      • ปลอกหุ้มเบาะรองเปลี่ยนผ้าอ้อม (Changing pad cover)
      • เบาะนอนสำหรับเปลเด็ก (Crib Mattress)
      • เปลเด็ก (Crib and Mattress)
      • โต๊ะเปลี่ยนผ้าอ้อมเด็ก (Dresser, Changing Table)
    • เสื้อผ้าและของใช้เด็กทารก
      • ชุดกลับบ้านของลูกน้อย (Going home outfit), หมวกสำหรับเด็ก (Baby cap)
      • ผ้าห่อตัวเด็ก (Swaddle), เสื้อคลุมเด็ก (Wearable blanket), เสื้อแบบใส่และถอดด้านข้าง (Side snap t-shirt)
PP 20K

Advertisement

Plug&Play
  • สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 5
  • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 6

  • สัปดาห์ที่ 7 สัปดาห์ที่ 7
สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 6
34
weeks to go

ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 6

IN THIS SECTION

  • พัฒนาการของทารกในครรภ์สัปดาห์ที่ 6
  • การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของคุณแม่
  • อาการที่พบบ่อยของคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 6
  • คำแนะนำสำหรับคุณแม่

พัฒนาการของทารกในครรภ์สัปดาห์ที่ 6
My Baby This Week

เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 6 รูปร่างของตัวอ่อนยังคงไม่เปลี่ยนแปลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมากนัก แต่อาจเพิ่มขนาดเล็กน้อย โดยมีความยาวประมาณ 5-6 มิลลิเมตร หรือเท่าขนาดของเมล็ดถั่ว ถุงตา หูส่วนใน เริ่มพัฒนา ขณะที่แขนขาสังเกตเห็นเป็นเพียงตุ่มเล็กๆ ที่กำลังพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

อวัยวะภายในเกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร ระบบทางเดินหายใจ ก็พัฒนาอย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะสมองและระบบประสาท ซึ่งมีการพัฒนาในส่วนที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ในขณะที่ หัวใจดวงเล็กๆ ก็เริ่มเต้นเป็นจังหวะคงที่มากขึ้น ซึ่งสามารถได้ยินได้ในระหว่างตรวจอัลตราซาวด์ทางช่องคลอด

นอกจากนี้ ตัวอ่อนยังเริ่มถูกปกคลุมด้วยชั้นบางๆ และโปร่งใส ซึ่งจะพัฒนาไปเป็นผิวหนังอย่างสมบูรณ์ต่อไป

การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของคุณแม่
My Body

สัปดาห์นี้ คุณแม่หลายคนต้องรับบทหนักกับความเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกายและอารมณ์อยู่สักหน่อย เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนอย่างมาก ส่งผลให้เกิดอาการต่างๆ ที่ทำให้คุณแม่ไม่สบายตัวและอาจรู้สึกกังวล เนื่องจากร่างกายของคุณแม่กำลังปรับตัวหลายด้านสำหรับการตั้งครรภ์

อาการที่พบบ่อยของคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 6
Signs & Common Symptoms of Pregnancy

นอกจากอาการแพ้ท้องและอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียนแล้ว อาจมีอาการและภาวะอื่นๆ ร่วมด้วย ได้แก่

  • เลือดออกในช่องปากได้ง่าย โดยเฉพาะขณะแปรงฟัน
  • เป็นตะคริวบริเวณขาบ่อยๆ
  • หน้ามืด วิงเวียน และเป็นลม
  • รู้สึกร้อนตลอดเวลา
  • ปวดศีรษะ
  • ท้องอืด
  • มีอาการแสบร้อนกลางอกจากรดไหลย้อน
  • เกิดอาการบวมบริเวณข้อเท้า มือ และเท้า
  • ท้องผูก
  • ปวดบริเวณอุ้งเชิงกราน
  • เกิดภาวะเลือดจาง

บางอาการนั้นสามารถรักษาและบรรเทาได้ด้วยการดูแลรักษาตัวเองเบื้องต้น แต่หากคุณแม่มีความกังวลกับอาการใดอาการหนึ่งดังที่กล่าวมานี้ ควรขอรับคำปรึกษาจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ

คำแนะนำสำหรับคุณแม่
The Doc Says

ช่วงนี้ แนะนำให้คุณแม่พักผ่อนให้มากขึ้น รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และงดกิจกรรมที่เสี่ยงต่ออันตรายต่อทั้งตัวคุณแม่และตัวอ่อนในครรภ์ สิ่งสำคัญคือ ควรงดสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์

คุณแม่ส่วนใหญ่ที่มีอาการแพ้ท้องมากขึ้นนั้น มักมีความอยากอาหารมากขึ้นด้วย โดยอาจมีความคิดว่าคุณแม่ต้องรับประทานอาหารให้มากเข้าไว้เพื่อให้ลูกในครรภ์ได้รับอาหารอย่างเพียงพอด้วย ซึ่งผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าเป็นความเชื่อที่เสี่ยงทำให้คุณแม่น้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ หรืออาจนำไปสู่ภาวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ได้

ผู้เชี่ยวชาญได้แนะนำวิธีที่จะบรรเทาอาการแพ้ท้องและอาการอยากอาหารมากกว่าปกติด้วยตนเองว่า คุณแม่ควรแบ่งมื้ออาหารเป็นมื้อเล็กๆ ประมาณ 6 มื้อต่อวัน โดยเน้นที่การรับประทานอาหารเช้าที่ดีต่อสุขภาพเป็นสำคัญ เพราะจะช่วยให้คุณแม่ลดความอยากอาหารหวานที่มีปริมาณไขมันและน้ำตาลสูงในระหว่างวันได้ดี ซึ่งจะช่วยให้คุณแม่ควบคุมน้ำหนักได้ดีขึ้นด้วย และในแต่ละมื้อ ควรประกอบด้วยอาหารครบ 5 หมู่ นอกจากนี้ ยังควรดื่มน้ำมากๆ และพักผ่อนให้เพียงพอ

อย่างไรก็ตาม หากมีอาการแพ้ท้องจนไม่สามารรับประทานอาหารได้เลย ควรปรึกษาแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ

เรามาลุ้นกันต่อว่าในสัปดาห์ต่อไปจะเกิดอะไรขึ้นกับคุณแม่และเจ้าตัวน้อยอีกบ้าง

+ To Do: Schedule first prenatal visit

  • สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 5
  • สัปดาห์ที่ 7 สัปดาห์ที่ 7
ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

แหล่งข้อมูลอ้างอิงของบทความนี้

https://americanpregnancy.org/week-by-week/6-weeks-pregnant/

https://kidshealth.org/en/parents/week6.html#catpregnancy

https://www.nhs.uk/conditions/pregnancy-and-baby/6-weeks-pregnant/

https://www.nhs.uk/start4life/pregnancy/week-by-week/1st-trimester/week-six

https://www.tommys.org/pregnancy-information/im-pregnant/early-pregnancy/10-common-pregnancy-complaints

Advertisement

{{ad1_name}}
{{ad2_name}}
{{ad3_name}}

Most Related

ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 5

ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 5

ลักษณะของตัวอ่อนในระยะนี้อาจจะดูคล้ายลูกอ๊อดมากกว่าทารก แม้จะยังมีขนาดเล็กอยู่ แต่การพัฒนาระบบการทำงานส่วนต่างๆ ของร่างกายยังคงเป็นอย่างต่อเนื่อง


ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 4

ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 4

สัปดาห์ที่ 4 นี้ ตัวอ่อนในระยะเอ็มบริโอ (Embryo) จะเติบโตอย่างเร็ว แต่ยังมีขนาดเล็กอยู่


ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 7

ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 7

ในสัปดาห์นี้ จากขนาดเท่าเมล็ดถั่ว กลายมาเป็นขนาดเท่าผลบลูเบอรี่ รูปร่างหน้าตาของทารกอาจยังเหมือนมนุษย์ต่างดาวมากกว่าทารก


ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 8

ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 8

ในช่วงนี้จะพัฒนากลายเป็นตัวอ่อนระยะฟีทัส (Fetus) ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดการพัฒนาอวัยวะทั้งภายในและภายนอกอย่างต่อเนื่อง


ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

nct.org.uk, baby toddler, your child’s development, your baby’s development 18-21 months

https://www.nct.org.uk/baby-toddler/your-childs-development/your-babys-development-18-21-months

theparentline.org, infant toddler development, 19-21 months

http://www.theparentline.org/infant-toddler-development/19-21-months/

theplab.net, 21 months old

https://theplab.net/21-months-old/

ecda.gov.sg, growatbeanstalk, documents, early years development framework 

https://www.ecda.gov.sg/growatbeanstalk/Documents/MCYS%20EARLY%20YEARS%20DEVELOPMENT%20FRAMEWORK.pdf

Kidspot.com.au, parenting, toddler, toddler development, your toddler at 21 months

https://www.kidspot.com.au/parenting/toddler/toddler-development/your-toddler-at-21-months/news-story/527ee914f42854251bbf4b1296b78c69

BabyToddlersKids

BabyToddlersKids.com เป็น The trustworthy pregnancy and baby information site. ที่ให้พ่อแม่ยุคดิจิตอล ที่ต้องการหาข้อมูล องค์ความรู้ เกี่ยวกับลูก ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนถึงวัยก่อนเข้าเรียน จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ทั้งสถาบันวิจัยเฉพาะทางหน่วยงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลก โรงพยาบาล ที่มีชื่อเสียงระดับโลก พร้อมทั้งแพทย์และผู้เชี่ยวชาญทำให้ผู้ที่กำลังเตรียมตัวเป็นพ่อแม่ หรือบุคคลทั่วไปที่สนใจในข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก สามารถนำข้อมูลจาก BabyToddlersKids.com ไปเป็นข้อมูลประกอบในการเตรียมพร้อม และดูแลลูกในด้านต่างๆ ต่อไป





Contact Us


  • [email protected]

388/52 ชิคดิสทริค
รามคำแหง 53 ถนนรามคำแหง พลับพลา
กรุงเทพมหานคร


Connect with us

  • TRACK พัฒนาการทารกในครรภ์

    กดปุ่ม Join Us เพื่อติดตามพัฒนาการทารกในครรภ์ในแต่ละสัปดาห์ พร้อมข้อมูล คำแนะนำจากคุณหมอ ผู้เชี่ยวชาญในการดูแลทารกในครรภ์และคุณแม่

    ลงทะเบียนตั้งแต่วันนี้ เพื่อไม่พลาดการติดตามพัฒนาการลูก

  • Join Us

© 2019 babytoddlerskids.com. All Rights Reserved.