BabyToddlersKids
BabyToddlersKids
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
  • ตั้งครรภ์
    • ดูทั้งหมด
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1 (First Trimester)
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 1
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 2
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 3
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 4
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 5
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 6
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 7
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 8
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 9
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 10
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 11
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 12
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 13
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 (Second Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 14
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 15
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 16
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 17
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 18
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 19
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 20
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 21
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 22
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 23
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 24
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 25
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 26
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 27
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3 (Third Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 28
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 29
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 30
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 31
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 32
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 33
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 34
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 35
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 36
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 37
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 38
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 39
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 40
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 41
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 42
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 43
  • เด็กวัยแรกเกิด
    • ดูทั้งหมด
    • Parenting The Parent
    • พัฒนาการลูกน้อย (Baby's Developement)
      • พัฒนาการเด็กแรกเกิด ถึง 7 สัปดาห์ (Baby's Development Newborn to week 7)
        • เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)
        • เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 4 สัปดาห์ (4 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 5 สัปดาห์ (5 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 6 สัปดาห์ (6 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 7 สัปดาห์ (7 Weeks Old Baby)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Baby's Development - Month by Month)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 2 เดือน (First Year - 2 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 3 เดือน (First Year - 3 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 4 เดือน (First Year - 4 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 5 เดือน (First Year - 5 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 6 เดือน (First Year - 6 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 7 เดือน (First Year - 7 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 8 เดือน (First Year - 8 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 9 เดือน (First Year - 9 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 10 เดือน (First Year - 10 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 11 เดือน (First Year - 11 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 12 เดือน (First Year - 12 Months Old)
    • การให้อาหารทารก (Feeding)
      • Alternative methods of infant feeding
        • Alternative methods of infant feeding
      • การให้นมจากขวด (Bottle Feeding)
        • นมผงสำหรับทารก (Formula Feeding)
      • การให้นมแม่ (Breast Feeding)
        • การให้นมแม่
      • อาหารบด (Solids)
        • อาหารเสริมสำหรับทารก (Solid Foods)
    • วัคซีน (Vaccinations)
      • วัคซีน (Vaccine Basic)
        • การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในเด็กปลอดภัยหรือไม่? Are Immunizations safe?
        • การฉีดวัคซีนในเด็ก (The Importance of Vaccines)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็กทารก (Baby Sleep)
        • การกล่อมลูกน้อยให้นอนหลับ (Getting Baby to Sleep)
        • การนอนของเด็กแรกเกิด (Baby Bedtime Routine)
        • การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)
        • ฝึกเด็กวัยแรกเกิดให้นอนเองและนอนได้นาน (Baby Sleep Training Strategies)
  • เด็กวัยหัดเดิน
    • ดูทั้งหมด
    • พัฒนาการเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Development)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Toddler Development - Month by Month)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็ก (Sleep)
    • การเล่น (Playtime)
    • อุปกรณ์ของใช้สำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Gears)
      • จานและชามสำหรับทานอาหารของเด็กวัยหัดเดิน (Plates and Bowls for Toddler)
      • รั้วกั้นสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Safety Gates)
      • อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของเด็กวัยหัดเดิน (Toddler safety products)
      • เก้าอี้และโต๊ะทานข้าวสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (High Chair and Table for Toddler)
      • เตียงนอนสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Bed)
  • เด็กก่อนวัยเรียน
    • ดูทั้งหมด
    • Covid-19
      • การเตรียมตัวเปิดเทอมในช่วงโควิด-19
      • หากสงสัยว่าลูกน้อยได้รับเชื้อไวรัส COVID 19
    • เด็กวัย 3 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • เด็กวัย 4 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
      • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
  • อุปกรณ์และของใช้เด็ก
    • ดูทั้งหมด
    • รถเข็น / คาร์ซีท / เป้อุ้ม และอุปกรณ์
      • คาร์ซีท (Carseat)
      • รถเข็น (Stroller)
      • อุปกรณ์อุ้มเด็ก (Baby Carrier)
    • อุปกรณ์การให้นม
      • ขวดนม (Milk Bottle)
      • จุกนม (Nipples)
      • หมอนรองให้นม (Nursing Pillow)
      • แปรงทำความสะอาดขวดนม (Bottle Brush)
    • เตียงนอนและอุปกรณ์ในห้องเลี้ยงเด็ก
      • ปลอกหุ้มเบาะรองเปลี่ยนผ้าอ้อม (Changing pad cover)
      • เบาะนอนสำหรับเปลเด็ก (Crib Mattress)
      • เปลเด็ก (Crib and Mattress)
      • โต๊ะเปลี่ยนผ้าอ้อมเด็ก (Dresser, Changing Table)
    • เสื้อผ้าและของใช้เด็กทารก
      • ชุดกลับบ้านของลูกน้อย (Going home outfit), หมวกสำหรับเด็ก (Baby cap)
      • ผ้าห่อตัวเด็ก (Swaddle), เสื้อคลุมเด็ก (Wearable blanket), เสื้อแบบใส่และถอดด้านข้าง (Side snap t-shirt)
PP 20K

Advertisement

Plug&Play
  • สัปดาห์ที่ 34 สัปดาห์ที่ 34
  • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 35

  • สัปดาห์ที่ 36 สัปดาห์ที่ 36
สัปดาห์ที่ 34 สัปดาห์ที่ 35
5
weeks to go

การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 35

IN THIS SECTION

  • พัฒนาการของทารกในครรภ์สัปดาห์ที่ 35
  • การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของคุณแม่
  • อาการที่พบบ่อยของคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 35
  • คำแนะนำสำหรับคุณแม่

พัฒนาการของทารกในครรภ์ในสัปดาห์ที่ 35
My Baby This Week

ในช่วงสัปดาห์ที่ 35 นี้ ลูกน้อยของคุณแม่คุณพ่อจะมีขนาดความยาวของร่างกายประมาณ 43.2 เซนติเมตร ถึง 45.7 เซนติเมตร หรือ 17 นิ้ว ถึง 18 นิ้ว และมีน้ำหนักประมาณ 2.5 กิโลกรัม ถึง 2.7 กิโลกรัม หรือ 5.5 ปอนด์ ถึง 6 ปอนด์ ขนาดใกล้เคึยงกับผลฟักทองสปาเก็ตตี้ (Spaghetti Squash) โดยน้ำหนักส่วนใหญ่ที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจากปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของทารกที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ถือเป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการปรับอุณหภูมิของร่างกายหลังคลอด

พัฒนาการที่สำคัญในช่วงอายุครรภ์ 35 สัปดาห์คือ ไตของทารกได้พัฒนาจนสมบูรณ์และพร้อมใช้งานเต็มประสิทธิภาพแล้ว ดังนั้นทารกจะเริ่มผลิตปัสสาวะปลอดเชื้อ ซึ่งจะถูกขับถ่ายออกมารวมกับน้ำคร่ำ (Amniotic fluid) นอกจากนี้ ตับก็ได้พัฒนาจนสมบูรณ์และเริ่มผลิตของเสียแล้วเช่นกัน

พัฒนาการด้านทักษะการใช้ชีวิตนอกครรภ์ก็เริ่มพัฒนาในช่วงสัปดาห์นี้ เนื่องจากอวัยวะทั้งภายนอกและภายในได้มีการพัฒนาจนใกล้สมบูรณ์แล้ว โดยในช่วงสัปดาห์ที่ 35 นี้ ทารกจะฝึกการดูดแบบโดยอัตโนมัติ เป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการดื่มนมแบบเข้าเต้า (Breastfeeding) และคุณแม่ยังอาจสามารถรู้สึกได้ถึงการปลี่ยนแปลงภายในครรภ์ ด้านการขยับร่างกายของลูกน้อย จากที่เคยขยับในลักษณะการเตะ และ การต่อย เปลี่ยนเป็นการกลิ้งที่มากขึ้น ลดการเตะและการต่อยลง

สุขภาพของทารกในช่วงสัปดาห์ที่ 35
Baby's Health

เมื่อเข้าสู่ช่วงการตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 35 สูตินรีแพทย์ (Obstetricians) จะนัดพบคุณแม่ทุกสัปดาห์จนกว่าจะถึงวันคลอด และอาจทำการอัลตราซาวด์ (Ultrasound) เพื่อติดตามพัฒนาการของลูกน้อยให้เป็นไปตามเกณฑ์

ในช่วงอายุครรภ์ 35 สัปดาห์ ถึง 36 สัปดาห์ จะมีการตรวจการติดเชื้อสเตรปโตคอคคัสกรุ๊ปบี (Group B Strep test) ขณะตั้งครรภ์ ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ในช่วงสัปดาห์ใกล้คลอด รวมถึงอาจเป็นอันตรายต่อทารกแรกเกิด (Newborn) หากผลการตรวจคือมีการติดเชื้อ คุณหมอจะทำการรักษาทันที

สำหรับคุณแม่ที่มีแผนคลอดก่อนกำหนด (Preterm birth) ยังคงต้องระวังโรคที่เป็นอันตรายต่อเด็กที่คลอดก่อนกำหนด โดยเด็กที่คลอดก่อนกำหนดมักมีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ น้ำตาลในเลือดต่ำ และปัญหาสุขภาพอื่นๆที่จะทำให้ลูกน้อยของคุณแม่คุณพ่อต้องเข้ารับการดูแล อย่างใกล้ชิดในห้องอภิบาลทารกแรกเกิด (Neonatal intensive care unit – NICU)

การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายของคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 35
My Body

เมื่อเข้าสู่ช่วงอายุครรภ์ 35 สัปดาห์ น้ำหนักของคุณแม่จะเพิ่มจากน้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ตั้งแต่ 10.9 กิโลกรัม ถึง 13.2 กิโลกรัม หรือ ตั้งแต่ 24 ปอนด์ ถึง 29 ปอนด์ โดยหากคุณแม่พบว่าน้ำหนักเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างผิดปกติควรเข้าพบแพทย์เพื่อขอคำปรึกษา

และในสัปดาห์นี้คุณแม่บางท่านอาจจะรู้สึกหายใจได้ง่ายขึ้นกว่าสัปดาห์ที่ผ่านๆมา เนื่องจากทารกขยับลงมาอยู่บริเวณที่เชิงกราน (Pelvic) ทำให้การกดทับบริเวณกะบังลมลดลง แต่ขณะเดียวกันก็เกิดการกดทับบริเวณกระเพาะปัสสาวะแทน ทำให้คุณแม่รู้สึกปวดปัสสาวะบ่อยมากขึ้น และคุณแม่บางท่านอาจไม่สามารถควบคุมการปัสสาวะได้เมื่อเกิดการกระตุ้น เช่น การไอ การจาม การหัวเราะ เป็นต้น ดังนั้นเมื่อคุณแม่ปัสสาวะ ควรปล่อยปัสสาวะให้หมดด้วยการเอนตัวไปด้านหน้าเล็กน้อย และไม่ลืมที่จะดื่มน้ำอย่างสม่ำเสมอเพื่อทดแทนปริมาณน้ำที่เสียไปจากการปัสสาวะ

อาการที่พบบ่อยของคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 35
Signs & Common Symptoms of Pregnancy

1. ภาวะหลอดเลือดขอด ซึ่งเกิดขึ้นได้เป็นปกติในหญิงตั้งครรภ์ ปกติแล้วจะไม่รู้สึกเจ็บ และไม่เป็นอันตรายต่อคุณแม่ โดยภาวะหลอดเลือดขอดมักเกิดขึ้นบริเวณเท้า มีลักษณะเป็นตุ่มสีออกม่วง เมื่อคลอดลูกน้อยแล้วภาวะหลอดเลือดขอดจะค่อยๆหายไปเอง อย่างไรก็ตามแม้ภาวะหลอดเลือดขอดโดยทั่วไปแล้วจะไม่เป็นอันตราย แต่หากคุณแม่เริ่มสังเกตเห็นภาวะหลอดเลือดขอด ควรเข้าพบแพทย์เพื่อขอคำปรึกษา เนื่องจากอาจเป็นสัญญาณของการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน

2. อาการปวดหัวเป็นครั้งคราว ซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัย อาจเกิดจากการนั่งอยู่ในห้องเป็นเวลานาน หรืออาการปวดหัวจากอากาศร้อน ดังนั้นคุณแม่จึงควรออกไปข้างนอกบ้างเป็นครั้งคราว เปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเท และปรึกษาคุณหมอเพื่อขอรับยาหากอาการไม่ดีขึ้น

3. อาการเหงือกมีเลือดไหล ในช่วงนี้เหงือกของคุณแม่จะมีความนุ่มมากกว่าปกติและมีเลือดออกได้ง่าย คุณแม่ควรทานอาหารที่อุดมไปด้วยวิตามิน ซี เช่น น้ำส้ม ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ เป็นต้น เพื่อลดอาการนี้

4. อาการผื่นขึ้นที่ผิวหนัง เนื่องจากผิวของคุณแม่แห้งกว่าปกติ โดยเฉพาะบริเวณหน้าท้อง ที่มักมีผื่นขึ้นมากและบ่อยกว่าบริเวณอื่น คุณแม่ควรปรึกษาคุณหมอเพื่อขอรับยาทาภายนอกที่ปลอดภัยสำหรับหญิงมีครรภ์

การดูแลสุขภาพและการปฏิบัติตัวของคุณแม่
The Doc Says

ในช่วงนี้การหาท่านอนที่สบายเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับคุณแม่เนื่องจากขนาดหน้าท้องที่ใหญ่และหนักขึ้นมาก หรือคุณแม่อาจหาหมอนใบใหม่เพื่อช่วยให้หลับง่ายขึ้น นอกจากนี้คุณแม่ยังควรทานอาหารให้ครบห้าหมู่ ไม่อดอาหารหรือข้ามมื้ออาหาร เนื่องจากการเพิ่มน้ำหนักทารกก่อนช่วงสัปดาห์ก่อนคลอดนั้นจะทำให้มั่นใจได้ว่าทารกแข็งแรงพร้อมสำหรับการคลอ

นอกจากนี้คุณแม่ควรเริ่มนับการขยับร่างกายของลูกน้อยในครรภ์หากคุณหมอยังไม่ได้แนะนำให้ทำ โดยคุณแม่ควรรู้สึกถึงการเตะ การต่อย การกลิ้ง จากลูกน้อยประมาณ 10 ครั้ง ใน 2 ชั่วโมง หากครบ 2 ชั่วโมงแล้วการขยับร่างกายของลูกน้อยยังไม่ครบ 10 ครั้ง ให้เริ่มนับใหม่ในชั่วโมงถัดไป ถือเป็นการติดตามพัฒนาการของลูกน้อยที่คุณแม่สามารถทำได้เองและควรจดใส่สมุดไว้ทุกครั้ง หากคุณแม่สังเกตว่าลูกน้อยมีการขยับที่น้อยลงหรือไม่ขยับเป็นเวลานาน ควรเข้าพบแพทย์เพื่อขอคำปรึกษา

+ To Do: Schedule Group B screening test

+ M.D. Visit Planner: Discuss choice of pain management

  • สัปดาห์ที่ 34 สัปดาห์ที่ 34
  • สัปดาห์ที่ 36 สัปดาห์ที่ 36
ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

americanpregnancy.org, week by week, 35 weeks pregnant

mayoclinic.org, healthy lifestyle, pregnancy week by week, in depth, fetal development

health.ny.gov, community, pregnancy, why is 40 weeks so important

cdc.gov, pertussis, pregnant, mom, get vaccinated

cdc.gov, features, tdap in pregnancy

mayoclinic, healthy lifestyle, pregnancy week by week, expert answers, vaccines during pregnancy

Advertisement

{{ad1_name}}
{{ad2_name}}
{{ad3_name}}

Most Related

ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

Novakdjokovicfoundation.org, teaching children good manners

https://novakdjokovicfoundation.org/teaching-children-good-manners/

findababysitter.org, blog, 10 ways to teach your toddler manners

https://www.findababysitter.org/blog/10-ways-to-teach-your-toddler-manners/

kidspot.com.au, parenting, toddler, toddler development, your toddler at 32 months

https://www.kidspot.com.au/parenting/toddler/toddler-development/your-toddler-at-32-months/news-story/549dde84de1acfaabeace487ed4b7633

theplab.net, 32 months old

https://theplab.net/32-months-old/

zerotothree.org, resources, from baby to big kid month 32

https://www.zerotothree.org/resources/1273-from-baby-to-big-kid-month-32

photo : Stocksy_Sally Anscombe

BabyToddlersKids

BabyToddlersKids.com เป็น The trustworthy pregnancy and baby information site. ที่ให้พ่อแม่ยุคดิจิตอล ที่ต้องการหาข้อมูล องค์ความรู้ เกี่ยวกับลูก ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนถึงวัยก่อนเข้าเรียน จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ทั้งสถาบันวิจัยเฉพาะทางหน่วยงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลก โรงพยาบาล ที่มีชื่อเสียงระดับโลก พร้อมทั้งแพทย์และผู้เชี่ยวชาญทำให้ผู้ที่กำลังเตรียมตัวเป็นพ่อแม่ หรือบุคคลทั่วไปที่สนใจในข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก สามารถนำข้อมูลจาก BabyToddlersKids.com ไปเป็นข้อมูลประกอบในการเตรียมพร้อม และดูแลลูกในด้านต่างๆ ต่อไป





Contact Us


  • [email protected]

388/52 ชิคดิสทริค
รามคำแหง 53 ถนนรามคำแหง พลับพลา
กรุงเทพมหานคร


Connect with us

  • TRACK พัฒนาการทารกในครรภ์

    กดปุ่ม Join Us เพื่อติดตามพัฒนาการทารกในครรภ์ในแต่ละสัปดาห์ พร้อมข้อมูล คำแนะนำจากคุณหมอ ผู้เชี่ยวชาญในการดูแลทารกในครรภ์และคุณแม่

    ลงทะเบียนตั้งแต่วันนี้ เพื่อไม่พลาดการติดตามพัฒนาการลูก

  • Join Us

© 2019 babytoddlerskids.com. All Rights Reserved.