BabyToddlersKids
BabyToddlersKids
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
  • ตั้งครรภ์
    • ดูทั้งหมด
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1 (First Trimester)
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 1
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 2
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 3
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 4
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 5
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 6
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 7
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 8
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 9
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 10
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 11
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 12
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 13
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 (Second Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 14
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 15
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 16
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 17
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 18
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 19
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 20
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 21
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 22
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 23
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 24
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 25
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 26
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 27
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3 (Third Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 28
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 29
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 30
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 31
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 32
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 33
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 34
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 35
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 36
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 37
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 38
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 39
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 40
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 41
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 42
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 43
  • เด็กวัยแรกเกิด
    • ดูทั้งหมด
    • Parenting The Parent
    • พัฒนาการลูกน้อย (Baby's Developement)
      • พัฒนาการเด็กแรกเกิด ถึง 7 สัปดาห์ (Baby's Development Newborn to week 7)
        • เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)
        • เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 4 สัปดาห์ (4 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 5 สัปดาห์ (5 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 6 สัปดาห์ (6 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 7 สัปดาห์ (7 Weeks Old Baby)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Baby's Development - Month by Month)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 2 เดือน (First Year - 2 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 3 เดือน (First Year - 3 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 4 เดือน (First Year - 4 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 5 เดือน (First Year - 5 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 6 เดือน (First Year - 6 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 7 เดือน (First Year - 7 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 8 เดือน (First Year - 8 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 9 เดือน (First Year - 9 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 10 เดือน (First Year - 10 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 11 เดือน (First Year - 11 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 12 เดือน (First Year - 12 Months Old)
    • การให้อาหารทารก (Feeding)
      • Alternative methods of infant feeding
        • Alternative methods of infant feeding
      • การให้นมจากขวด (Bottle Feeding)
        • นมผงสำหรับทารก (Formula Feeding)
      • การให้นมแม่ (Breast Feeding)
        • การให้นมแม่
      • อาหารบด (Solids)
        • อาหารเสริมสำหรับทารก (Solid Foods)
    • วัคซีน (Vaccinations)
      • วัคซีน (Vaccine Basic)
        • การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในเด็กปลอดภัยหรือไม่? Are Immunizations safe?
        • การฉีดวัคซีนในเด็ก (The Importance of Vaccines)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็กทารก (Baby Sleep)
        • การกล่อมลูกน้อยให้นอนหลับ (Getting Baby to Sleep)
        • การนอนของเด็กแรกเกิด (Baby Bedtime Routine)
        • การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)
        • ฝึกเด็กวัยแรกเกิดให้นอนเองและนอนได้นาน (Baby Sleep Training Strategies)
  • เด็กวัยหัดเดิน
    • ดูทั้งหมด
    • พัฒนาการเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Development)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Toddler Development - Month by Month)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็ก (Sleep)
    • การเล่น (Playtime)
    • อุปกรณ์ของใช้สำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Gears)
      • จานและชามสำหรับทานอาหารของเด็กวัยหัดเดิน (Plates and Bowls for Toddler)
      • รั้วกั้นสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Safety Gates)
      • อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของเด็กวัยหัดเดิน (Toddler safety products)
      • เก้าอี้และโต๊ะทานข้าวสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (High Chair and Table for Toddler)
      • เตียงนอนสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Bed)
  • เด็กก่อนวัยเรียน
    • ดูทั้งหมด
    • Covid-19
      • การเตรียมตัวเปิดเทอมในช่วงโควิด-19
      • หากสงสัยว่าลูกน้อยได้รับเชื้อไวรัส COVID 19
    • เด็กวัย 3 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • เด็กวัย 4 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
      • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
  • อุปกรณ์และของใช้เด็ก
    • ดูทั้งหมด
    • รถเข็น / คาร์ซีท / เป้อุ้ม และอุปกรณ์
      • คาร์ซีท (Carseat)
      • รถเข็น (Stroller)
      • อุปกรณ์อุ้มเด็ก (Baby Carrier)
    • อุปกรณ์การให้นม
      • ขวดนม (Milk Bottle)
      • จุกนม (Nipples)
      • หมอนรองให้นม (Nursing Pillow)
      • แปรงทำความสะอาดขวดนม (Bottle Brush)
    • เตียงนอนและอุปกรณ์ในห้องเลี้ยงเด็ก
      • ปลอกหุ้มเบาะรองเปลี่ยนผ้าอ้อม (Changing pad cover)
      • เบาะนอนสำหรับเปลเด็ก (Crib Mattress)
      • เปลเด็ก (Crib and Mattress)
      • โต๊ะเปลี่ยนผ้าอ้อมเด็ก (Dresser, Changing Table)
    • เสื้อผ้าและของใช้เด็กทารก
      • ชุดกลับบ้านของลูกน้อย (Going home outfit), หมวกสำหรับเด็ก (Baby cap)
      • ผ้าห่อตัวเด็ก (Swaddle), เสื้อคลุมเด็ก (Wearable blanket), เสื้อแบบใส่และถอดด้านข้าง (Side snap t-shirt)
PP 20K

Advertisement

Plug&Play
  • สัปดาห์ที่ 13 สัปดาห์ที่ 13
  • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 14

  • สัปดาห์ที่ 15 สัปดาห์ที่ 15
สัปดาห์ที่ 13 สัปดาห์ที่ 14
26
weeks to go

การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 14

IN THIS SECTION

  • พัฒนาการของทารกในครรภ์สัปดาห์ที่ 14
  • การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของคุณแม่สัปดาห์ที่ 14
  • อาการที่พบบ่อยของคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 14
  • คำแนะนำสำหรับคุณแม่

พัฒนาการของทารกในครรภ์ในสัปดาห์ที่ 14
My Baby

ในสัปดาห์นี้ ลูกน้อยในครรภ์มีความยาวประมาณ 8.5-10 เซนติเมตร หรือขนาดเท่าผลส้ม ศีรษะมีทรงกลมมากขึ้น และมีขนาดได้สัดส่วนกับอวัยวะส่วนอื่นๆ ของร่างกาย แขนและขาเริ่มยาวขึ้นและได้สัดส่วนกับขนาดร่างกาย ตับของทารก เริ่มผลิตน้ำดี ม้าม ก็เริ่มผลิตเม็ดเลือดแดงได้แล้วเช่นกัน ระบบไตและระบบทางเดินปัสสาวะก็สามารถทำงานได้แล้ว เมื่อทารกกลืนกินน้ำคร่ำเข้าไป ก็จะถูกขับถ่ายออกมาเป็นปัสสาวะ

สมองที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องทำให้ทารกให้ครรภ์สามารถสั่งให้กล้ามเนื้อบนหน้าทำงาน โดยทารกในสัปดาห์นี้ สามารถ
เบะหน้า ขมวดคิ้ว และหรี่ตาได้ ทั้งยังสามารถขยับตัว เคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง เพียงแต่คุณแม่ยังไม่สามารถรู้สึกได้เท่านั้นเอง

นอกจากนี้ คุณแม่อาจได้ยินเสียงหัวใจลูกเต้นเป็นครั้งแรก หากได้รับการตรวจแบบดอปเปลอร์อัลตราซาวด์ (Doppler Ultrasound) ซึ่งต้องให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทำการตรวจเท่านั้น

การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 14
My body

ในสัปดาห์นี้ คุณแม่จะสังเกตได้ว่าเต้านมขยายขึ้นอย่างชัดเจนถึงร้อยละ 25-50 รวมทั้งหัวนมและลานนมใหญ่ขึ้น สีคล้ำขึ้นโดยในคุณแม่บางคน อาจพบคราบสีเหลืองในเสื้อชั้นในซึ่งก็คือ น้ำนมที่ไหลออกมา เนื่องจากในช่วงนี้ฮอร์โมน
เอสโตรเจนจะกระตุ้นท่อน้ำนมให้ขยายตัว ขณะที่ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนจะไปกระตุ้นต่อมน้ำนมให้โตขึ้นนั่นเอง

นอกจากนี้ ร่างกายของคุณแม่จะสะสมไขมันมากขึ้นเพื่อเตรียมผลิตน้ำนมสำหรับทารกน้อยในอนาคต คุณแม่หลายคนจึงมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนในช่วงนี้ อย่างไรก็ตาม คุณแม่ควรระมัดระวังในการรับประทานอาหาร โดยควรเลือกรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เพื่อไม่ให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นมากเกินไป เพราะการที่น้ำหนักเพิ่มมากเกินไประหว่างตั้งครรภ์อาจนำไปสู่ภาวะสุขภาพและโรคต่างๆ เช่น ภาวะเบาหวาน หรือความดันโลหิตสูง ซึ่งไม่ส่งผลดีต่อทารกในครรภ์

อาการที่พบบ่อยของคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 14
Signs & Common Symptoms of Pregnancy

อาการแพ้ท้องและอาการอื่นๆ ที่ทำให้คุณแม่ไม่สบายตัวที่มีมาในช่วงไตรมาสแรกจะบรรเทาเบาบางลงในช่วงนี้ ทำให้
คุณแม่รู้สึกดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ในบางรายก็อาจยังมีอาการต่างๆ หลงเหลืออยู่ โดยอาการของคุณแม่ตั้งครรภ์ที่พบบ่อยในช่วงนี้ ได้แก่

  • รู้สึกเจ็บปวดบริเวณด้านข้างของหน้าท้อง เนื่องจากกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นยืดตัวเพื่อรองรับมดลูกที่โตขึ้น
  • หายใจลำบาก
  • ปวดศีรษะ
  • เลือดกำเดาไหล
  • เจ็บหน้าอก
  • เวียนศีรษะ
  • ขาเป็นตะคริว
  • ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
  • ติดเชื้อในช่องคลอด
  • มือและเท้าบวม
  • รับประทานอาหารมากขึ้น
  • ท้องอืด
  • ท้องผูก
  • แสบกลางอกจากรดไหลย้อน
  • ความรู้สึกไวต่อกลิ่นและความชอบในการกินที่เปลี่ยนไป
  • ปวดเกร็งบริเวณท้องคล้ายปวดประจำเดือน
  • มีตกขาว ซึ่งตามปกติ จะมีสีขาวและไม่มีกลิ่น แต่ถ้ามีกลิ่นหรือสีเปลี่ยนไป หรือมีอาการคันผิดปกติ ควรปรึกษาแพทย์
  • มีเลือดออกทางช่องคลอด (Implantation Bleeding) หรือตามที่คนโบราณมักเรียกว่า “เลือดล้างหน้าเด็ก” แต่เลือดที่ออกมาในช่วงนี้จะต่างจากเลือดประจำเดือน โดยจะออกมาปริมาณเล็กน้อย และมีสีชมพูจางๆ หรือน้ำตาล ไม่ได้เป็นสีแดงสดเหมือนเลือดประจำเดือนตามปกติ อาการนี้ถือเป็นสิ่งปกติในหญิงตั้งครรภ์ และพบเพียงร้อยละ 20 เท่านั้นที่มีอาการนี้ ดังนั้น ไม่ใช่สิ่งที่คุณต้องกังวลมากนัก
  • ผิวหนังบนใบหน้ามีสีคล้ำเป็นปื้นๆ หรือเป็นฝ้า เกิดจากฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง หลังคลอดจะหายไปเอง คุณแม่ไม่ต้องกังวล
  • ผิวหนังมันและมีจุดด่างดำ
  • ผมดกขึ้นหรือขนหนาขึ้น

คำแนะนำสำหรับคุณแม่ในสัปดาห์ที่ 14
The Doc Says

  • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์

  • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ โดยเน้นการออกกำลังกายเบาๆ เช่น โยคะ เดิน และว่ายน้ำ เป็นต้น
  • ทำกิจกรรมที่คุณแม่ชื่นชอบ หรือพูดคุยเกี่ยวกับความรู้สึก ความกังวลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ให้คนใกล้ชิด
    เพื่อลดความเครียด และวิตกกังวล
  • งดสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงการได้รับควันบุหรี่มือสอง

เรามาลุ้นกันต่อว่าในสัปดาห์ต่อไปจะเกิดอะไรขึ้นกับคุณแม่และลูกน้อยอีกบ้าง

+ To Do: Purchase some maternity clothing

+ To Do: Purchase more fiber-rich-foods

  • สัปดาห์ที่ 13 สัปดาห์ที่ 13
  • สัปดาห์ที่ 15 สัปดาห์ที่ 15
ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

https://americanpregnancy.org/week-by-week/14-weeks-pregnant/

https://kidshealth.org/en/parents/week14.html#catpregnancy

https://www.nhs.uk/conditions/pregnancy-and-baby/14-weeks-pregnant/

https://www.nhs.uk/start4life/pregnancy/week-by-week/2nd-trimester/week-fourteen

https://www.tommys.org/pregnancy-week-by-week/14-weeks-pregnant-whats-happening

https://www.tommys.org/pregnancy-information/im-pregnant/exercise-pregnancy/pelvic-floor-exercises

http://www.med.cmu.ac.th/dept/obgyn/2011/index.php?option=com_content&view=article&id=1087:2015-02-22-11-39-05&catid=38&Itemid=480


Advertisement

{{ad1_name}}
{{ad2_name}}
{{ad3_name}}

Most Related

การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 11

การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 11

ในสัปดาห์นี้ ผิวหนังของตัวอ่อนยังคงโปร่งใส ขณะที่กระดูกเริ่มแข็งแรงขึ้นเรื่อยๆ และเริ่มเตะขาและเคลื่อนไหวสม่ำเสมอ เพียงแต่คุณแม่ยังคงไม่รับรู้ถึงกา...


การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 33

การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 33

จากที่เคยรับสารภูมิต้านทานจากคุณแม่ผ่านทางรก (Placenta) ทารกได้เริ่มพัฒนาระบบภูมิคุ้มกันภายในร่างกายด้วยตัวเอง เพื่อเตรียมการสำหรับการใช้ชีวิตหลังค...


การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 12

การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 12

ลูกสามารถขยับแขนขา เคลื่อนไหวร่างกายได้ แต่คุณแม่ไม่รู้สึกเพราะลูกตัวเล็กเกินไป


เด็กวัยหัดเดิน - อายุ 13 เดือน (Toddler - Age 13 months)

เด็กวัยหัดเดิน - อายุ 13 เดือน (Toddler - Age 13 months)

เด็กจะเป็นนักเลียนแบบและนักสังเกตการณ์ประจำบ้านของคุณแม่คุณพ่อ และเริ่มที่จะมีความคิดเป็นของตัวเอง


การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 13

การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 13

ในสัปดาห์นี้ ขนบางๆ จะเริ่มปกคลุมผิวหนังของทารกแล้ว ในขณะที่ระบบสืบพันธุ์ภายใน ได้แก่ อัณฑะและรังไข่ก็พัฒนาสมบูรณ์แล้ว และอวัยวะเพศภายนอกก็กำลังพัฒ...


ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

nct.org.uk, baby toddler, your child’s development, your baby’s development 18-21 months

https://www.nct.org.uk/baby-toddler/your-childs-development/your-babys-development-18-21-months

theparentline.org, infant toddler development, 19-21 months

http://www.theparentline.org/infant-toddler-development/19-21-months/

theplab.net, 21 months old

https://theplab.net/21-months-old/

ecda.gov.sg, growatbeanstalk, documents, early years development framework 

https://www.ecda.gov.sg/growatbeanstalk/Documents/MCYS%20EARLY%20YEARS%20DEVELOPMENT%20FRAMEWORK.pdf

Kidspot.com.au, parenting, toddler, toddler development, your toddler at 21 months

https://www.kidspot.com.au/parenting/toddler/toddler-development/your-toddler-at-21-months/news-story/527ee914f42854251bbf4b1296b78c69

BabyToddlersKids

BabyToddlersKids.com เป็น The trustworthy pregnancy and baby information site. ที่ให้พ่อแม่ยุคดิจิตอล ที่ต้องการหาข้อมูล องค์ความรู้ เกี่ยวกับลูก ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนถึงวัยก่อนเข้าเรียน จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ทั้งสถาบันวิจัยเฉพาะทางหน่วยงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลก โรงพยาบาล ที่มีชื่อเสียงระดับโลก พร้อมทั้งแพทย์และผู้เชี่ยวชาญทำให้ผู้ที่กำลังเตรียมตัวเป็นพ่อแม่ หรือบุคคลทั่วไปที่สนใจในข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก สามารถนำข้อมูลจาก BabyToddlersKids.com ไปเป็นข้อมูลประกอบในการเตรียมพร้อม และดูแลลูกในด้านต่างๆ ต่อไป





Contact Us


  • [email protected]

388/52 ชิคดิสทริค
รามคำแหง 53 ถนนรามคำแหง พลับพลา
กรุงเทพมหานคร


Connect with us

  • TRACK พัฒนาการทารกในครรภ์

    กดปุ่ม Join Us เพื่อติดตามพัฒนาการทารกในครรภ์ในแต่ละสัปดาห์ พร้อมข้อมูล คำแนะนำจากคุณหมอ ผู้เชี่ยวชาญในการดูแลทารกในครรภ์และคุณแม่

    ลงทะเบียนตั้งแต่วันนี้ เพื่อไม่พลาดการติดตามพัฒนาการลูก

  • Join Us

© 2019 babytoddlerskids.com. All Rights Reserved.