BabyToddlersKids
BabyToddlersKids
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
  • ตั้งครรภ์
    • ดูทั้งหมด
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1 (First Trimester)
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 1
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 2
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 3
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 4
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 5
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 6
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 7
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 8
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 9
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 10
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 11
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 12
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 13
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 (Second Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 14
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 15
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 16
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 17
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 18
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 19
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 20
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 21
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 22
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 23
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 24
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 25
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 26
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 27
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3 (Third Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 28
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 29
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 30
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 31
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 32
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 33
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 34
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 35
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 36
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 37
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 38
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 39
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 40
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 41
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 42
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 43
  • เด็กวัยแรกเกิด
    • ดูทั้งหมด
    • Parenting The Parent
    • พัฒนาการลูกน้อย (Baby's Developement)
      • พัฒนาการเด็กแรกเกิด ถึง 7 สัปดาห์ (Baby's Development Newborn to week 7)
        • เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)
        • เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 4 สัปดาห์ (4 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 5 สัปดาห์ (5 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 6 สัปดาห์ (6 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 7 สัปดาห์ (7 Weeks Old Baby)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Baby's Development - Month by Month)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 2 เดือน (First Year - 2 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 3 เดือน (First Year - 3 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 4 เดือน (First Year - 4 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 5 เดือน (First Year - 5 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 6 เดือน (First Year - 6 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 7 เดือน (First Year - 7 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 8 เดือน (First Year - 8 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 9 เดือน (First Year - 9 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 10 เดือน (First Year - 10 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 11 เดือน (First Year - 11 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 12 เดือน (First Year - 12 Months Old)
    • การให้อาหารทารก (Feeding)
      • Alternative methods of infant feeding
        • Alternative methods of infant feeding
      • การให้นมจากขวด (Bottle Feeding)
        • นมผงสำหรับทารก (Formula Feeding)
      • การให้นมแม่ (Breast Feeding)
        • การให้นมแม่
      • อาหารบด (Solids)
        • อาหารเสริมสำหรับทารก (Solid Foods)
    • วัคซีน (Vaccinations)
      • วัคซีน (Vaccine Basic)
        • การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในเด็กปลอดภัยหรือไม่? Are Immunizations safe?
        • การฉีดวัคซีนในเด็ก (The Importance of Vaccines)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็กทารก (Baby Sleep)
        • การกล่อมลูกน้อยให้นอนหลับ (Getting Baby to Sleep)
        • การนอนของเด็กแรกเกิด (Baby Bedtime Routine)
        • การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)
        • ฝึกเด็กวัยแรกเกิดให้นอนเองและนอนได้นาน (Baby Sleep Training Strategies)
  • เด็กวัยหัดเดิน
    • ดูทั้งหมด
    • พัฒนาการเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Development)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Toddler Development - Month by Month)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็ก (Sleep)
    • การเล่น (Playtime)
    • อุปกรณ์ของใช้สำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Gears)
      • จานและชามสำหรับทานอาหารของเด็กวัยหัดเดิน (Plates and Bowls for Toddler)
      • รั้วกั้นสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Safety Gates)
      • อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของเด็กวัยหัดเดิน (Toddler safety products)
      • เก้าอี้และโต๊ะทานข้าวสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (High Chair and Table for Toddler)
      • เตียงนอนสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Bed)
  • เด็กก่อนวัยเรียน
    • ดูทั้งหมด
    • Covid-19
      • การเตรียมตัวเปิดเทอมในช่วงโควิด-19
      • หากสงสัยว่าลูกน้อยได้รับเชื้อไวรัส COVID 19
    • เด็กวัย 3 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • เด็กวัย 4 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
      • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
  • อุปกรณ์และของใช้เด็ก
    • ดูทั้งหมด
    • รถเข็น / คาร์ซีท / เป้อุ้ม และอุปกรณ์
      • คาร์ซีท (Carseat)
      • รถเข็น (Stroller)
      • อุปกรณ์อุ้มเด็ก (Baby Carrier)
    • อุปกรณ์การให้นม
      • ขวดนม (Milk Bottle)
      • จุกนม (Nipples)
      • หมอนรองให้นม (Nursing Pillow)
      • แปรงทำความสะอาดขวดนม (Bottle Brush)
    • เตียงนอนและอุปกรณ์ในห้องเลี้ยงเด็ก
      • ปลอกหุ้มเบาะรองเปลี่ยนผ้าอ้อม (Changing pad cover)
      • เบาะนอนสำหรับเปลเด็ก (Crib Mattress)
      • เปลเด็ก (Crib and Mattress)
      • โต๊ะเปลี่ยนผ้าอ้อมเด็ก (Dresser, Changing Table)
    • เสื้อผ้าและของใช้เด็กทารก
      • ชุดกลับบ้านของลูกน้อย (Going home outfit), หมวกสำหรับเด็ก (Baby cap)
      • ผ้าห่อตัวเด็ก (Swaddle), เสื้อคลุมเด็ก (Wearable blanket), เสื้อแบบใส่และถอดด้านข้าง (Side snap t-shirt)
PP 20K
  • หน้าแรก /
  • เด็กวัยแรกเกิด /
  • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety) /
  • การนอนในเด็กทารก (Baby Sleep) /
  • การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)

Advertisement

Plug&Play

การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)

รู้หรือไม่? ลูกตื่นนอนกลางดึกบ่อยดีกว่านอนหลับยาว

เรื่องการนอนหลับของลูกน้อยมักเป็นปัญหาชวนปวดหัวของคุณแม่คุณพ่อหลายคน โดยเฉพาะบรรดามือใหม่ ตามความเข้าใจของคุณแม่คุณพ่อส่วนใหญ่ก็มักอยากให้ลูกนอนนานๆ จะได้พักผ่อนเยอะๆ ซึ่งตรงข้ามกับข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์โดยสิ้นเชิง! เพราะจากข้อมูลจากสถาบันที่ทำการวิจัยเรื่องการนอนของเด็กทารกในขวบปีแรกระบุว่า เด็กทารกที่ตื่นนอนกลางดึกบ่อยถือว่าเป็นเด็กที่มีสุขภาพดีกว่าเด็กที่นอนหลับสนิทตลอดทั้งคืน รู้อย่างนี้แล้ว เราจึงขอชวนคุณแม่คุณพ่อมาทำความเข้าใจกับการนอนของลูกให้ดียิ่งขึ้นกันดีกว่า

ลูกตื่นนอนบ่อยผิดปกติหรือไม่

ตามธรรมชาติ การนอนและตื่นของคนเรานั้นจะเป็นไปตามระบบนาฬิกาชีวิต หรือระบบนาฬิกาชีวภาพ (circadian rhythms) ซึ่งกำหนดเวลานอนด้วยแสงสว่าง อย่างไรก็ตาม นาฬิกาชีวิตของผู้ใหญ่และเด็กนั้นแตกต่างกัน ในเด็กทารกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 3 เดือนแรกนั้น ระบบนาฬิกาชีวิตของเด็กกำลังปรับตัวและยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ ส่งผลให้มีตารางการนอนที่ต่างจากผู้ใหญ่อย่างเรา โดยระยะเวลาการนอนของเด็กจะยังคงเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ จนกว่าจะอายุครบ 6 เดือน ถึงจะมีระยะเวลาและจังหวะการนอนที่แน่นอนมากยิ่งขึ้น โดยปกติแล้ว ทารกจะใช้เวลานอนประมาณ 16-17 ชั่วโมงต่อวัน แต่อาจนอนนานแค่ 1-2 ชั่วโมงต่อครั้งขึ้นอยู่กับระบบนาฬิกาชีวิตของเด็กแต่ละคนซึ่งแตกต่างกัน ดังนั้น กล่าวได้ว่า จริงๆ แล้ว การตื่นนอนบ่อยในเด็กในช่วงปีแรกนั้นถือเป็นเรื่องปกติแต่อย่างใด

ลูกตื่นนอนบ่อยถือว่าสุขภาพดี
เชื่อหรือไม่ว่า การตื่นนอนบ่อยนั้นบ่งบอกถึงภาวะสุขภาพที่ดีของลูกน้อยได้ด้วย การตื่นนอนบ่อยในระหว่างวันหรือช่วงกลางคืนนั้นถือเป็นกลไกตามธรรมชาติที่กระตุ้นให้เด็กตื่นขึ้นมากินอาหาร เนื่องจากกระเพาะของเด็กทารกนั้นยังมีขนาดเล็กอยู่จึงหิวบ่อย ดังนั้น การที่เด็กทารกตื่นขึ้นมากินนมได้บ่อยย่อมแสดงว่า เด็กจะได้รับอาหารที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสร้างเสริมพัฒนาการต่างๆ ได้ดี ในขณะที่ เด็กที่นอนติดต่อกันนานเกินไปอาจส่งผลให้ไม่ได้รับอาหารเพียงพอและทำให้การเจริญเติบโตหรือน้ำหนักไม่เป็นไปตามเกณฑ์ หรืออาจมีปัญหาสุขภาพอื่นแฝงอยู่ เช่น ภาวะดีซ่าน (jaundice) ซึ่งในกรณีที่คุณแม่คุณพ่อท่านใดสังเกตเห็นว่าลูกนอนนานเกินไปจนไม่ได้กินนมก็ควรจำเป็นต้องปรึกษาแพทย์ถึงความจำเป็นต้องปลุกเพื่อให้เด็กได้รับอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสมต่อไป

ลูกตื่นแล้วไม่ยอมหลับต่อ ทำอย่างไรดี
ใช่แล้ว ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ทำอย่างไรไม่ให้ลูกตื่นบ่อยเพราะนั่นเป็นเรื่องธรรมชาติ แต่สิ่งที่คุณแม่คุณพ่อควรคำนึงถึงมากกว่าคือทำอย่างไรที่จะทำให้ลูกหลับต่ออย่างง่ายดายโดยที่ไม่ต้องเปลืองพลังงานมากเกินไป แถมยังเพิ่มเวลานอนให้คุณแม่คุณพ่ออีกด้วย วิธีง่ายๆ ที่จะช่วยฝึกให้ลูกหลับง่ายขึ้นและหลับสบายขึ้น ไม่ว่าจะก่อนเวลานอน หรือหลังจากตื่นขึ้นมาระหว่างวันหรือตอนกลางวัน มีดังนี้

  • หากลูกตื่นขึ้นกลางดึกเพื่อให้นม ให้ทำอย่างเงียบๆ โดยไม่ให้กระตุ้นลูกตื่นเต็มตามากนัก
  • ให้สังเกตว่าลูกเริ่มมีอาการง่วงหรือยัง ให้พาลูกนอนตอนง่วงแต่ยังไม่หลับ วิธีนี้จะช่วยให้ลูกหลับไปเองโดยที่คุณแม่คุณพ่อไม่ต้องอุ้มหรือกล่อม การอุ้มและโยกไปมาอาจยิ่งทำให้ลูกหลับต่อยากขึ้นหากตื่นมากลางดึก
  • ในกรณีที่ลูกร้องไห้งอแงไม่ยอมนอน ไม่ควรเปิดไฟ ไปเล่นด้วย หรืออุ้มลูกขึ้นมา แต่ควรลองเช็กสาเหตุว่าลูกร้องไห้เพราอะไร อาจจะเพราะหิว ผ้าอ้อมเปียก หรือมีอะไรทำให้ไม่สบายตัวหรือไม่ และจัดการแก้ไขเพื่อให้ลูกเข้านอนต่อ
  • ฝึกระบบนาฬิกาชีวิตของลูกให้เรียนรู้ความแตกต่างระหว่างกลางวันและกลางคืน โดยเปิดม่านในห้องออกในตอนเช้าเพื่อรับแสง หรือพาลูกออกไปนอกบ้านในระหว่างวันบ้าง ส่วนเวลากลางคืนก็สร้างบรรยากาศห้องนอนให้เงียบสงบและมืดสนิทเพื่อให้ร่างกายรับรู้ว่านี่คือเวลานอนแล้ว

เพียงเท่านี้ คุณแม่คุณพ่อคงมีความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติการนอนของลูกได้ดีขึ้นและสามารถรับมือกับปัญหาการนอนหลับได้อย่างสบายใจมากขึ้น

Advertisement

{{ad1_name}}
{{ad2_name}}
{{ad3_name}}

Most Related

เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)

เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)

เด็กอ่อน (Infant) ยังคงปรับตัวให้เข้ากับการใช้ชีวิตในโลกภายนอก มีพัฒนาการสำคัญที่เกิดขึ้นในด้านการมองเห็นและการได้ยิน


เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)

เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)

พัฒนาการสำคัญจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งจะมีการเรียนรู้และพัฒนาเพื่อปรับสภาพให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่เด็กมองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น และสัมผัสได้


เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)

เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)

เด็กอายุ 3 สัปดาห์จะมีพัฒนาการเกิดขึ้นในหลายด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการควบคุมกล้ามเนื้อ (Physical development) ด้านการมองเห็น (Vision development) ในขั...


ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

Novakdjokovicfoundation.org, teaching children good manners

https://novakdjokovicfoundation.org/teaching-children-good-manners/

findababysitter.org, blog, 10 ways to teach your toddler manners

https://www.findababysitter.org/blog/10-ways-to-teach-your-toddler-manners/

kidspot.com.au, parenting, toddler, toddler development, your toddler at 32 months

https://www.kidspot.com.au/parenting/toddler/toddler-development/your-toddler-at-32-months/news-story/549dde84de1acfaabeace487ed4b7633

theplab.net, 32 months old

https://theplab.net/32-months-old/

zerotothree.org, resources, from baby to big kid month 32

https://www.zerotothree.org/resources/1273-from-baby-to-big-kid-month-32

photo : Stocksy_Sally Anscombe

BabyToddlersKids

BabyToddlersKids.com เป็น The trustworthy pregnancy and baby information site. ที่ให้พ่อแม่ยุคดิจิตอล ที่ต้องการหาข้อมูล องค์ความรู้ เกี่ยวกับลูก ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนถึงวัยก่อนเข้าเรียน จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ทั้งสถาบันวิจัยเฉพาะทางหน่วยงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลก โรงพยาบาล ที่มีชื่อเสียงระดับโลก พร้อมทั้งแพทย์และผู้เชี่ยวชาญทำให้ผู้ที่กำลังเตรียมตัวเป็นพ่อแม่ หรือบุคคลทั่วไปที่สนใจในข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก สามารถนำข้อมูลจาก BabyToddlersKids.com ไปเป็นข้อมูลประกอบในการเตรียมพร้อม และดูแลลูกในด้านต่างๆ ต่อไป





Contact Us


  • [email protected]

388/52 ชิคดิสทริค
รามคำแหง 53 ถนนรามคำแหง พลับพลา
กรุงเทพมหานคร


Connect with us

  • TRACK พัฒนาการทารกในครรภ์

    กดปุ่ม Join Us เพื่อติดตามพัฒนาการทารกในครรภ์ในแต่ละสัปดาห์ พร้อมข้อมูล คำแนะนำจากคุณหมอ ผู้เชี่ยวชาญในการดูแลทารกในครรภ์และคุณแม่

    ลงทะเบียนตั้งแต่วันนี้ เพื่อไม่พลาดการติดตามพัฒนาการลูก

  • Join Us

© 2019 babytoddlerskids.com. All Rights Reserved.