BabyToddlersKids
BabyToddlersKids
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
    • {{option.blog_title}}
  • Login
  • or
  • Signup
  • ตั้งครรภ์
    • ดูทั้งหมด
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1 (First Trimester)
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 1
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 2
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 3
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 4
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 5
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 6
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 7
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 8
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 9
      • ตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 10
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 11
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 12
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 13
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 (Second Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 14
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 15
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 16
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 17
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 18
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 19
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 20
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 21
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 22
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 23
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 24
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 25
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 26
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 27
    • ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3 (Third Trimester)
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 28
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 29
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 30
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 31
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 32
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 33
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 34
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 35
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 36
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 37
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 38
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 39
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 40
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 41
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 42
      • การตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 43
  • เด็กวัยแรกเกิด
    • ดูทั้งหมด
    • Parenting The Parent
    • พัฒนาการลูกน้อย (Baby's Developement)
      • พัฒนาการเด็กแรกเกิด ถึง 7 สัปดาห์ (Baby's Development Newborn to week 7)
        • เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)
        • เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 4 สัปดาห์ (4 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 5 สัปดาห์ (5 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 6 สัปดาห์ (6 Weeks Old Baby)
        • เด็กอายุ 7 สัปดาห์ (7 Weeks Old Baby)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Baby's Development - Month by Month)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 2 เดือน (First Year - 2 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 3 เดือน (First Year - 3 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 4 เดือน (First Year - 4 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 5 เดือน (First Year - 5 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 6 เดือน (First Year - 6 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 7 เดือน (First Year - 7 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 8 เดือน (First Year - 8 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 9 เดือน (First Year - 9 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 10 เดือน (First Year - 10 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 11 เดือน (First Year - 11 Months Old)
        • เด็กแรกเกิด - อายุ 12 เดือน (First Year - 12 Months Old)
    • การให้อาหารทารก (Feeding)
      • Alternative methods of infant feeding
        • Alternative methods of infant feeding
      • การให้นมจากขวด (Bottle Feeding)
        • นมผงสำหรับทารก (Formula Feeding)
      • การให้นมแม่ (Breast Feeding)
        • การให้นมแม่
      • อาหารบด (Solids)
        • อาหารเสริมสำหรับทารก (Solid Foods)
    • วัคซีน (Vaccinations)
      • วัคซีน (Vaccine Basic)
        • การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในเด็กปลอดภัยหรือไม่? Are Immunizations safe?
        • การฉีดวัคซีนในเด็ก (The Importance of Vaccines)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็กทารก (Baby Sleep)
        • การกล่อมลูกน้อยให้นอนหลับ (Getting Baby to Sleep)
        • การนอนของเด็กแรกเกิด (Baby Bedtime Routine)
        • การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)
        • ฝึกเด็กวัยแรกเกิดให้นอนเองและนอนได้นาน (Baby Sleep Training Strategies)
  • เด็กวัยหัดเดิน
    • ดูทั้งหมด
    • พัฒนาการเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Development)
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน (Toddler Development - Month by Month)
    • สุขภาพและความปลอดภัยเด็ก (Health & Safety)
      • การนอนในเด็ก (Sleep)
    • การเล่น (Playtime)
    • อุปกรณ์ของใช้สำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Gears)
      • จานและชามสำหรับทานอาหารของเด็กวัยหัดเดิน (Plates and Bowls for Toddler)
      • รั้วกั้นสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Safety Gates)
      • อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของเด็กวัยหัดเดิน (Toddler safety products)
      • เก้าอี้และโต๊ะทานข้าวสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (High Chair and Table for Toddler)
      • เตียงนอนสำหรับเด็กวัยหัดเดิน (Toddler Bed)
  • เด็กก่อนวัยเรียน
    • ดูทั้งหมด
    • Covid-19
      • การเตรียมตัวเปิดเทอมในช่วงโควิด-19
      • หากสงสัยว่าลูกน้อยได้รับเชื้อไวรัส COVID 19
    • เด็กวัย 3 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • เด็กวัย 4 ขวบ
      • พัฒนาการเด็กในแต่ละเดือน
    • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
      • การฝึกเด็กขับถ่าย (Potty Training)
  • อุปกรณ์และของใช้เด็ก
    • ดูทั้งหมด
    • รถเข็น / คาร์ซีท / เป้อุ้ม และอุปกรณ์
      • คาร์ซีท (Carseat)
      • รถเข็น (Stroller)
      • อุปกรณ์อุ้มเด็ก (Baby Carrier)
    • อุปกรณ์การให้นม
      • ขวดนม (Milk Bottle)
      • จุกนม (Nipples)
      • หมอนรองให้นม (Nursing Pillow)
      • แปรงทำความสะอาดขวดนม (Bottle Brush)
    • เตียงนอนและอุปกรณ์ในห้องเลี้ยงเด็ก
      • ปลอกหุ้มเบาะรองเปลี่ยนผ้าอ้อม (Changing pad cover)
      • เบาะนอนสำหรับเปลเด็ก (Crib Mattress)
      • เปลเด็ก (Crib and Mattress)
      • โต๊ะเปลี่ยนผ้าอ้อมเด็ก (Dresser, Changing Table)
    • เสื้อผ้าและของใช้เด็กทารก
      • ชุดกลับบ้านของลูกน้อย (Going home outfit), หมวกสำหรับเด็ก (Baby cap)
      • ผ้าห่อตัวเด็ก (Swaddle), เสื้อคลุมเด็ก (Wearable blanket), เสื้อแบบใส่และถอดด้านข้าง (Side snap t-shirt)
PP 20K
  • หน้าแรก /
  • เด็กวัยแรกเกิด /
  • พัฒนาการลูกน้อย (Baby's Developement) /
  • พัฒนาการเด็กแรกเกิด ถึง 7 สัปดาห์ (Baby's Development Newborn to week 7) /
  • เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)

Advertisement

Plug&Play

เด็กอายุ 3 สัปดาห์ (3 Weeks Old Baby)

IN THIS SECTION

  • พัฒนาการของเด็กอายุ 3 สัปดาห์
  • การเจริญเติบโตของเด็ก
  • สุขภาพของเด็ก
  • เคล็ดลับและเกร็ดความรู้สำหรับคุณแม่

เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 3 ในการเลี้ยงลูกน้อย คุณแม่คุณพ่อคงเข้าใจกิจวัตรและช่วงเวลาการตื่นและการนอนของลูกน้อยแล้ว รวมไปถึงเปลี่ยนผ้าอ้อมให้ลูกน้อยได้คล่องแคล่วมากขึ้นและให้นมลูกน้อยแบบเข้าเต้า (Breastfeeding) ได้ง่ายขึ้นแล้วสำหรับคุณแม่ เด็ก (Infant) ในวัย 3 สัปดาห์นั้นเริ่มที่จะรับรู้ถึงสภาพแวดล้อมรอบกาย รวมไปถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเขา และรอบๆตัวเขาในแต่ละวัน ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องแปลกหากลูกน้อยของคุณแม่คุณพ่อจะดูมีพลังงานและตื่นในช่วงเวลากลางวันมากขึ้น รวมไปถึงมีการแสดงออกที่มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการร้องอ้อแอ้ (Cooing) และการร้องไห้ นอกจากนี้เด็กยังมีพัฒนาการเกิดขึ้นในหลายด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการควบคุมกล้ามเนื้อ (Physical development) ด้านการมองเห็น (Vision development) และด้านภาษาและการสื่อสาร (Language and Communication development) ในขั้นเริ่มต้น

พัฒนาการของเด็กอายุ 3 สัปดาห์
Baby’s Development

ในตอนนี้ พัฒนาการที่สำคัญที่สุดของลูกน้อยคือการควบคุมกล้ามเนื้อบริเวณคอ แม้ว่ากล้ามเนื้อคอของเด็กในวัยนี้จะยังไม่แข็งแรงเพราะไม่ได้มีระยะเวลาในการฝึกฝนพัฒนากล้ามเนื้อที่ยาวนาน แต่เด็กก็ควรที่จะสามารถยกศีรษะขึ้นได้เองแล้วเล็กน้อย เพียงหนึ่งวินาทีถึงสองวินาที แม้จะดูเป็นช่วงเวลาที่สั้นแต่ก็ถือเป็นพัฒนาการที่เล็กแต่มีความสำคัญ นอกจากนี้เด็กยังควรที่จะเริ่มหันศีรษะได้ แสดงให้เห็นถึงความแข็งแรงที่เพิ่มมากขึ้นของร่ายกายส่วนบนของเด็ก

นอกจากนี้เด็กยังมีพัฒนาการด้านการมองเห็นที่ชัดขึ้น จากเริ่มแรกเมื่อเป็นเด็กแรกเกิด (Newborn) นั้นมีการมองเห็นที่เลือนลาง แต่ตอนนี้เด็กสามารถที่จะมองเห็นสิ่งของที่อยู่รอบๆตัวเขาได้แล้ว โดยคุณแม่คุณพ่อจะเริ่มสังเกตเห็นลูกน้อยจ้องมองและให้ความสนใจกับสิ่งของชิ้นใดชิ้นหนึ่งที่อยู่ในระยะการมองเห็นของเขา หากคุณแม่คุณพ่อไม่แน่ใจว่าลูกน้อยมีพัฒนาการในด้านนี้แล้วหรือไม่ คุณแม่คุณพ่อสามารถทดสอบได้ด้วยการถือของเล่นแล้วโบกไปมาข้างหน้าลูกน้อย หากลูกน้อยมองตามและให้ความสนใจก็ถือว่าลูกน้อยมีพัฒนาการที่เป็นไปอย่างปกติ ขณะเดียวกันหากลูกน้อยไม่รับรู้ถึงของเล่นที่อยู่ตรงหน้า คุณแม่คุณพ่อควรพาลูกน้อยเข้าพบกุมารแพทย์ (Pediatrician)

อีกพัฒนาการหนึ่งที่น่าสนใจคือลูกน้อยมีการส่งเสียงอ้อแอ้แล้ว ซึ่งถึงแม้จะดูเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงๆแล้วเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของพัฒนาการด้านภาษาและการสื่อสาร ซึ่งการส่งเสียงอ้อแอ้ของลูกน้อยนั้นเป็นการแสดงออกทางหนึ่งว่าเขาตื่นเต้นที่ได้เห็นและได้ยินเสียงของคุณแม่คุณพ่อ แต่หากเด็กยังไม่มีการส่งเสียงอ้อแอ้ภายในสัปดาห์นี้ก็ไม่ใช่เรื่องที่น่าห่วง เด็กบางคนอาจเริ่มส่งเสียงอ้อแอ้ในสัปดาห์หลังจากนี้ได้

การเจริญเติบโตของเด็ก
Baby’s Growth

ในช่วงนี้ ตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกหรือWHO เด็กผู้หญิงในวัยนี้ควรมีน้ำหนักประมาณ 8.37 ปอนด์ หรือ 3.8 กิโลกรัม เด็กผู้ชายในวัยนี้ควรมีน้ำหนักประมาณ 9.04 ปอนด์ หรือ 4.1 กิโลกรัม และ เด็กผู้หญิงควรมีความยาวร่างกายประมาณ 20.67 นิ้ว หรือ 52.5 เซนติเมตร และ เด็กผู้ชายควรมีความยาวร่างกายประมาณ 21.06 นิ้ว หรือ 53.5 เซนติเมตร อย่างไรก็ตามความยาวร่างกายและน้ำหนักของเด็กก็ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยด้วยกันเช่น พันธุกรรม โรคประจำตัวของคุณแม่คุณพ่อที่อาจส่งผลกระทบต่อลูก โภชนาการของลูกน้อย เป็นต้น

เด็กในวัยนี้ยังควรมีกิจวัตรประจำวันที่ง่ายและไม่ซับซ้อนอยู่ โดยกิจกรรมที่สำคัญคือการดื่มนมและการนอนหลับ ซึ่งการดื่มนมแม่ (Breastmilk) สำหรับเด็กในวัยนี้ ควรมีการให้นมประมาณ 8 ถึง 12 ครั้งใน 24 ชั่วโมง แน่นอนว่าเด็กส่วนมากมักตื่นมาร้องไห้ในยามกลางคืนเมื่อต้องการดื่มนม ซึ่งเมื่อเข้าสัปดาห์ที่ 3 นี้คุณแม่คงจะพอทราบช่วงเวลาการตื่นนอนยามกลางดึกของลูกน้อยแล้ว อย่างไรก็ตามหากคุณแม่มีปัญหาในการให้นมลูกน้อยแบบเข้าเต้า หรือมีปัญหาน้ำนมไม่เพียงพอ ก็สามารถให้น้ำนมทดแทน (Formula feeding) กับลูกน้อยได้ แต่ควรปรึกษากุมารแพทย์เสียก่อนเนื่องจากน้ำนมแม่มีความสำคัญต่อสุขภาพและการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็ก (Toddler immunization)

สำหรับช่วงเวลาการนอนของลูกน้อย (Sleep pattern) เด็กในวัยนี้ยังไม่รู้ถึงความแตกต่างของช่วงเวลากลางวันและช่วงเวลากลางคืน เด็กแค่รู้ว่าตอนไหนร่างกายต้องการนอนหลับพักผ่อน และตอนไหนร่างกายต้องการอาหาร ดังนั้นการที่ลูกน้อยตื่นมาหลายครั้งและมีลักษณะการนอนแบบหลับๆตื่นๆยามกลางคืนในช่วงนี้จึงไม่ใช่เรื่องแปลกและน่าห่วงอะไร แต่หากลูกน้อยมีพฤติกรรมร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุและไม่สามารถปลอบประโลมให้หยุดร้องไห้ได้ในยามกลางคืน คุณแม่คุณพ่อควรปรึกษากุมารแพทย์เพื่อหาสาเหตุ

สุขภาพของเด็ก
Baby’s Health

เมื่อเด็กมีอายุเข้า 3 สัปดาห์ เด็กอาจได้เข้าพบกุมารแพทย์ตามการนัดหมายเพื่อรับการตรวจสุขภาพทั่วไป มีการตรวจฟังเสียงหัวใจและฟังเสียงปอด มีการติดตามการเจริญเติบโตในด้านน้ำหนักและความยาวร่างกาย รวมไปถึงพัฒนาการด้านต่างๆให้เป็นไปอย่างสมวัย ดังนั้นหากคุณแม่คุณพ่อมีข้อสงสัยหรือความกังวลในเรื่องใดก็ควรใช้โอกาสนี้ในการปรึกษาแพทย์

สิ่งที่คุณแม่คุณพ่อควรทราบคือในสัปดาห์ที่ 3 นี้ สายสะดือของลูกน้อยควรแห้งและหลุดไปเองได้แล้ว โดยการหลุดของสายสะดือจะเกิดขึ้นในช่วงที่เด็กมีอายุได้ 10 วัน ถึง 3 สัปดาห์ หากในสัปดาห์นี้สายสะดือของลูกน้อยยังไม่แห้งและหลุดออกไปเอง ประกอบกับมีลักษณะที่ผิดปกติเช่น มีสีแดง ส่งกลิ่นเหม็น ควรให้กุมารแพทย์วินิจฉัย

สำหรับสัญญาณที่บ่งบอกว่าลูกน้อยมีปัญหาสุขภาพมีดังนี้

  • เด็กไม่มีการขยับร่างกายและดูอ่อนแรง
  • เด็กไม่สามารถหันศีรษะและยกศีรษะขึ้นมาในเวลาสั้นๆได้
  • เด็กไม่รับรู้ถึงสิ่งของที่อยู่รอบตัว ไม่รับรู้และไม่ให้ความสนใจเมื่อมีของเล่นยื่นมาตรงหน้า
  • เด็กที่ดื่มนมแม่ไม่ขับถ่ายเป็นเวลา 4 วันติดกัน และเด็กที่ดื่มน้ำนมทดแทนไม่ขับถ่ายเป็นเวลา 2 วันติดกัน

เคล็ดลับและเกร็ดความรู้สำหรับคุณแม่
Postpartum Tips and Information

เด็กในวัย 3 สัปดาห์นี้จะเริ่มมีความจู้จี้และร้องไห้บ่อยขึ้น (Fussy) ซึ่งหนึ่งในพัฒนาการของเด็กวัยนี้ การที่ลูกแสดงออกถึงความไม่พอใจและร้องไห้บ่อยแม้ในเวลากลางคืนอาจส่งผลให้คุณแม่คุณพ่อมีความเครียด รวมไปถึงพักผ่อนได้ไม่เพียงพอ ดังนั้นคุณแม่คุณพ่อไม่ควรที่จะกลัวการขอความช่วยเหลือ การร้องขอให้สมาชิกภายในครอบครัวช่วยดูแลลูกน้อยระหว่างที่คุณแม่และคุณพ่อพักผ่อนจะช่วยให้คุณแม่คุณพ่อมีความสุขมากขึ้นและเลี้ยงดูลูกน้อยได้ดีขึ้น รวมไปถึงควรทานอาหารให้เพียงพอและครบห้าหมู่ แต่หากคุณแม่คุณพ่อรู้สึกเหนื่อยล้าและรู้สึกซึมเศร้า ไม่มีแรง ควรพบแพทย์เพื่อขอคำปรึกษา

ส่งเสียงอ้อแอ้กับลูกน้อย
เนื่องจากในสัปดาห์นี้เด็กหลายคนเริ่มส่งเสียงอ้อแอ้แล้ว การที่เด็กจะมีพัฒนาการด้านการสื่อสารที่ดีขึ้นได้คุณแม่คุณพ่อควรที่จะตอบรับการส่งเสียงของลูกน้อยและตอบโต้ด้วยการทำเสียงอ้อแอ้กลับไป พยายามทำเสียงเลียนแบบลูกน้อยเพื่อให้เขารับรู้ว่าคุณแม่คุณพ่อกำลังสื่อสารกับเขาอยู่

วิธีการช่วยให้ลูกน้อยหลับง่ายขึ้น
ในตอนนี้คุณแม่คุณพ่อคงทราบถึงช่วงเวลาการนอนหลับและการตื่นของลูกน้อยดีในระดับหนึ่งแล้ว เด็กวัยนี้ส่วนใหญ่มักง่วงหลังการให้นม และเด็กบางคนอาจนอนหลับขณะการให้นมก็ได้ ดังนั้นคุณแม่คุณพ่อจะเห็นได้ว่าการให้นมลูกน้อยอย่างถูกต้องและเพียงพอนั้นมีความสำคัญอย่างมากต่อการนอนหลับของเขา เมื่อจะอุ้มลูกน้อยลงนอน คุณแม่คุณพ่อควรมั่นใจว่าลูกน้อยถูกห่อในผ้าอย่างถูกวิธีและมิดชิด และที่สำคัญคือวางลูกน้อยแบบหงายหน้าขึ้น ให้แผ่นหลังนาบกับเตียงนอน

ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

wa.kaiserpermanente.org, health and wellness, common health and wellness, pregnancy, newborn, newborn care

https://wa.kaiserpermanente.org/healthAndWellness/index.jhtml?item=%2Fcommon%2FhealthAndWellness%2Fpregnancy%2Fnewborn%2FnewbornCare.html

bellybelly.com.au, baby week by week, 3 week old baby

https://www.bellybelly.com.au/baby-week-by-week/3-week-old-baby/

newkidscenter.org, 3 weeks old baby development

https://www.newkidscenter.org/3-weeks-old-baby-development.html

sleepbaby.org, 3 week old baby milestones

https://sleepbaby.org/3-week-old-baby-milestones/

photo : Stocksy_Pansfun Images

Advertisement

{{ad1_name}}
{{ad2_name}}
{{ad3_name}}

Most Related

เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)

เด็กอายุ 2 สัปดาห์ (2 Weeks Old Baby)

เด็กอ่อน (Infant) ยังคงปรับตัวให้เข้ากับการใช้ชีวิตในโลกภายนอก มีพัฒนาการสำคัญที่เกิดขึ้นในด้านการมองเห็นและการได้ยิน


เด็กอายุ 5 สัปดาห์ (5 Weeks Old Baby)

เด็กอายุ 5 สัปดาห์ (5 Weeks Old Baby)

สัปดาห์นี้อาจเป็นสัปดาห์ที่ยากลำบากสำหรับคุณแม่คุณพ่อบางท่าน เนื่องจากในสัปดาห์ที่  5 เด็ก (Infant) จะเข้าสู่ภาวะเติบโตอย่างรวดเร็ว (Growth sp...


เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)

เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 สัปดาห์ (Newborn to 1 week old baby)

พัฒนาการสำคัญจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งจะมีการเรียนรู้และพัฒนาเพื่อปรับสภาพให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่เด็กมองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น และสัมผัสได้


เด็กอายุ 4 สัปดาห์ (4 Weeks Old Baby)

เด็กอายุ 4 สัปดาห์ (4 Weeks Old Baby)

ในช่วงเดือนนี้ ลูกน้อยจะมีพัฒนาการด้านการควบคุมกล้ามเนื้อ (Physical development) ที่แข็งแรงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นกล้ามเนื้อคอ ไปจนถึงกล้ามเนื้อแขนและขา


การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)

การนอนหลับในเด็ก (Baby Sleep)

รู้หรือไม่? ลูกตื่นนอนกลางดึกบ่อยดีกว่านอนหลับยาวเด็กทารกที่ตื่นนอนกลางดึกบ่อยถือว่าเป็นเด็กที่มีสุขภาพดีกว่าเด็กที่นอนหลับสนิทตลอดทั้งคืน


ดูแหล่งที่มา ซ่อนแหล่งที่มา

Novakdjokovicfoundation.org, teaching children good manners

https://novakdjokovicfoundation.org/teaching-children-good-manners/

findababysitter.org, blog, 10 ways to teach your toddler manners

https://www.findababysitter.org/blog/10-ways-to-teach-your-toddler-manners/

kidspot.com.au, parenting, toddler, toddler development, your toddler at 32 months

https://www.kidspot.com.au/parenting/toddler/toddler-development/your-toddler-at-32-months/news-story/549dde84de1acfaabeace487ed4b7633

theplab.net, 32 months old

https://theplab.net/32-months-old/

zerotothree.org, resources, from baby to big kid month 32

https://www.zerotothree.org/resources/1273-from-baby-to-big-kid-month-32

photo : Stocksy_Sally Anscombe

BabyToddlersKids

BabyToddlersKids.com เป็น The trustworthy pregnancy and baby information site. ที่ให้พ่อแม่ยุคดิจิตอล ที่ต้องการหาข้อมูล องค์ความรู้ เกี่ยวกับลูก ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนถึงวัยก่อนเข้าเรียน จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ทั้งสถาบันวิจัยเฉพาะทางหน่วยงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลก โรงพยาบาล ที่มีชื่อเสียงระดับโลก พร้อมทั้งแพทย์และผู้เชี่ยวชาญทำให้ผู้ที่กำลังเตรียมตัวเป็นพ่อแม่ หรือบุคคลทั่วไปที่สนใจในข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก สามารถนำข้อมูลจาก BabyToddlersKids.com ไปเป็นข้อมูลประกอบในการเตรียมพร้อม และดูแลลูกในด้านต่างๆ ต่อไป





Contact Us


  • [email protected]

388/52 ชิคดิสทริค
รามคำแหง 53 ถนนรามคำแหง พลับพลา
กรุงเทพมหานคร


Connect with us

  • TRACK พัฒนาการทารกในครรภ์

    กดปุ่ม Join Us เพื่อติดตามพัฒนาการทารกในครรภ์ในแต่ละสัปดาห์ พร้อมข้อมูล คำแนะนำจากคุณหมอ ผู้เชี่ยวชาญในการดูแลทารกในครรภ์และคุณแม่

    ลงทะเบียนตั้งแต่วันนี้ เพื่อไม่พลาดการติดตามพัฒนาการลูก

  • Join Us

© 2019 babytoddlerskids.com. All Rights Reserved.